[:en]12 องค์กรภาคประชาชน และ 40 นักวิชาการ นักกิจกรรม นักกฎหมาย ร่วมสนับสนุนร่างพรบ.ทรมานอุ้มหาย ฉบับประชาชน ยืนยันให้การทรมานและอุ้มหายเป็นความผิดอาญา เตรียมยื่นสภาผู้แทนราษฎร[:th]12 องค์กรภาคประชาชน และ 40 นักวิชาการ นักกิจกรรม นักกฎหมาย ร่วมสนับสนุนร่างพรบ.ทรมานอุ้มหาย ฉบับประชาชน ยืนยันให้การทรมานและอุ้มหายเป็นความผิดอาญา เตรียมยื่นสภาผู้แทนราษฎร[:]

Share

[:en]
CrCF_Logo_Final

วันที่  30  มกราคม พ.ศ. 2563

เรื่อง      ขอยื่นร่างกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ฉบับประชาชน

เรียน     ประธานคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร

สำเนา   หัวหน้าพรรคการเมืองทุกพรรคการเมือง

สิ่งที่ส่งมาด้วย    1. ร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. …. (ฉบับประชาชน)

2. ร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ…… (ฉบับของรัฐบาล รับฟังความคิดเห็น ธันวาคม 2562)

3. เปรียบเทียบร่าง พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับประชาชนและฉบับของรัฐบาล

ตามที่ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี พ.ศ. 2527 ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2550 และได้ลงนามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ พ.ศ.2549 ตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม 2555 รัฐบาลไทยหลายสมัย ได้จัดทำร่างกฎหมายเพื่ออนุวัติการให้เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศทั้งสองฉบับแต่ด้วยเหตุผลนานัปการ จนบัดนี้ประเทศไทยยังไม่ได้มีกฎหมายเพื่ออนุวัติการให้เป็นไปตามอนุสัญญาแต่อย่างใด แม้ว่าจะมีการเรียกร้องและผลักดัน ทั้งจากในประเทศและนานาชาติให้ประเทศไทยจัดทำกฎหมายอนุวัติการดังกล่าวตลอดมาก็ตาม โดยร่าง พ.ร.บ.ของรัฐบาลที่เสนอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาเมื่อปี พ.ศ. 2561 แต่ไม่ได้รับการพิจารณาตราออกมาเป็นกฎหมายปรากฎตามเอกสารแนบ 2

 ในการนี้ ทางมูลนิธิผสานวัฒนธรรม ร่วมกับองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ตัวแทนภาคประชาชน ตัวแทนญาติผู้เสียหาย ตามรายชื่อข้างท้ายจดหมายฉบับนี้ จึงได้ร่วมกันจัดทำร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. ….. (ฉบับประชาชน) ขึ้น พร้อมหลัการและเหตุผลรายละเอียดปรากฎตามเอกสารที่ส่งมาด้วย 1 พร้อมทั้งเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติฉบับของรัฐบาลและฉบับประชาชน ปรากฎตามเอกสารที่ส่งมาด้วย 3  โดยฉบับประชาชนยืนยันที่จะให้กฎหมายอนุวัติการมีสาระบัญญัติที่ครบถ้วนตามอนุสัญญาทั้งสองฉบับดังกล่าว อาทิเช่น ถือการทรมานเนื่องจากเหตุของการเลือกปฏิบัติไม่ว่าในด้านใดจะกระทำมิได้ ห้ามผลักดันบุคคลออกนอกราชอาณาจักรหากบุคคลดังกล่าวอาจต้องเผชิญกับการทรมาน ห้ามอ้างเหตุผลหรือสถานการณ์ใดๆ  รวมทั้งภาวะสงคราม กฎอัยการศึกหรือสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อกระทำการทรมานหรือกระทำให้บุคคลสูญหาย ความรับผิดของผู้บังคับบัญชาต่อการกระทำทรมานหรือการกระทำให้บุคคลสูญหาย การกำหนดมาตรการป้องกันโดยให้มีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกจำกัดเสรีภาพ และการให้ศาลพลเรือนมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหายทุกกรณี รวมทั้งให้มีอำนาจตรวจสอบและมีคำสั่งเพื่อระงับการทรมานและเยียวยาความเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้เสียหายเป็นต้น  

  จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

                                                            ขอแสดงความนับถือ

                        รายชื่อองค์กรที่ร่วมกันยื่นร่างกฎหมายฯ

  1. มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF)
  2. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน(สนส.)
  3. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน(สสส.)
  4. เครือข่ายสิทธิมนุษยชนปาตานี(HAP)
  5. ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน(TLHR)
  6. มูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิม(MAC)
  7. กลุ่มด้วยใจ (Duayjai)
  8. เครือข่ายปฏิรูปตำรวจ (Police Watch)
  9. สถาบันเพื่อการปฎิรูปกระบวนการยุติธรรม(สปยธ.)
  10. เครือข่ายผู้ได้รับผลกระทบจากกฎหมายพิเศษ (JASAD)
  11. สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ
  12. มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ

รายชื่อบุคคล

  1. อนุชา  วินทะไชย
  2. อสมา  มังกรชัย
  3. พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ
  4. ประยงค์ ดอกลำไย
  5. ณัฏฐา มหัทธนา
  6. อรรคณัฐ  วันทนะสมบัติ
  7. ธีรวัฒน์  ขวัญใจ
  8. อรอนงค์ ทิพย์พิมล
  9. อารีวัณย์ สมบุญวัฒนกุล
  10. มูฮัมหมัดฟะฮ์มี ตาเละ
  11. บัณฑิต ไกรวิจิตร
  12. อิมรอน ซาเหาะ
  13. ศรันย์ สมันตรัฐ
  14. บารมี ชัยรัตน์ (สมัชชาคนจน)
  15. ยุกติ มุกดาวิจิตร (คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  16. ภาสกร อินทุมาร (คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  17. นาตยา อยู่คง (คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)
  18. ชลิตา บัณฑุวงศ์ (คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
  19. ทวีศักดิ์ ปิ
  20. พวงทอง ภวัครพันธุ์ (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ)
  21. อภิชาต สถิตนิรามัย (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  22. บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล
  23. ผศ. พันธุ์พิพิธ  พิพิธพันธุ์
  24. ศุภรา จันทร์ชิดฟ้า
  25. ชลิตา บัณฑุวงศ์
  26. ดวงยิหวา  อุตรสินธุ์
  27. อรชา รักดี
  28. ณรรธราวุธ เมืองสุข
  29. อันธิฌา แสงชัย
  30. งามศุกร์ รัตนเสถียร 
  31. อัมพร หมาดเด็น
  32. พูนสุข  พูนสุขเจริญ
  33. สุรชัย ทรงงาม
  34. สุมิตรชัย  หัตถสาร
  35. ณัฐาศิริ เบิร์กแมน
  36. เลาฟั้ง  บัณฑิตเทอดสกุล
  37. คุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์
  38. สุภาภรณ์ มาลัยลอย
  39. มนทนา ดวงประภา
  40. ผรัณดา ปานแก้ว
  41. อัญชนา หีมมีนะห์
[:th]
CrCF_Logo_Final

วันที่  30  มกราคม พ.ศ. 2563

เรื่อง      ขอยื่นร่างกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ฉบับประชาชน

เรียน     ประธานคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร

สำเนา   หัวหน้าพรรคการเมืองทุกพรรคการเมือง

สิ่งที่ส่งมาด้วย    1. ร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. …. (ฉบับประชาชน)

2. ร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ…… (ฉบับของรัฐบาล รับฟังความคิดเห็น ธันวาคม 2562)

3. เปรียบเทียบร่าง พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับประชาชนและฉบับของรัฐบาล

ตามที่ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี พ.ศ. 2527 ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2550 และได้ลงนามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ พ.ศ.2549 ตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม 2555 รัฐบาลไทยหลายสมัย ได้จัดทำร่างกฎหมายเพื่ออนุวัติการให้เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศทั้งสองฉบับแต่ด้วยเหตุผลนานัปการ จนบัดนี้ประเทศไทยยังไม่ได้มีกฎหมายเพื่ออนุวัติการให้เป็นไปตามอนุสัญญาแต่อย่างใด แม้ว่าจะมีการเรียกร้องและผลักดัน ทั้งจากในประเทศและนานาชาติให้ประเทศไทยจัดทำกฎหมายอนุวัติการดังกล่าวตลอดมาก็ตาม โดยร่าง พ.ร.บ.ของรัฐบาลที่เสนอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาเมื่อปี พ.ศ. 2561 แต่ไม่ได้รับการพิจารณาตราออกมาเป็นกฎหมายปรากฎตามเอกสารแนบ 2

 ในการนี้ ทางมูลนิธิผสานวัฒนธรรม ร่วมกับองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ตัวแทนภาคประชาชน ตัวแทนญาติผู้เสียหาย ตามรายชื่อข้างท้ายจดหมายฉบับนี้ จึงได้ร่วมกันจัดทำร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. ….. (ฉบับประชาชน) ขึ้น พร้อมหลัการและเหตุผลรายละเอียดปรากฎตามเอกสารที่ส่งมาด้วย 1 พร้อมทั้งเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติฉบับของรัฐบาลและฉบับประชาชน ปรากฎตามเอกสารที่ส่งมาด้วย 3  โดยฉบับประชาชนยืนยันที่จะให้กฎหมายอนุวัติการมีสาระบัญญัติที่ครบถ้วนตามอนุสัญญาทั้งสองฉบับดังกล่าว อาทิเช่น ถือการทรมานเนื่องจากเหตุของการเลือกปฏิบัติไม่ว่าในด้านใดจะกระทำมิได้ ห้ามผลักดันบุคคลออกนอกราชอาณาจักรหากบุคคลดังกล่าวอาจต้องเผชิญกับการทรมาน ห้ามอ้างเหตุผลหรือสถานการณ์ใดๆ  รวมทั้งภาวะสงคราม กฎอัยการศึกหรือสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อกระทำการทรมานหรือกระทำให้บุคคลสูญหาย ความรับผิดของผู้บังคับบัญชาต่อการกระทำทรมานหรือการกระทำให้บุคคลสูญหาย การกำหนดมาตรการป้องกันโดยให้มีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกจำกัดเสรีภาพ และการให้ศาลพลเรือนมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหายทุกกรณี รวมทั้งให้มีอำนาจตรวจสอบและมีคำสั่งเพื่อระงับการทรมานและเยียวยาความเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้เสียหายเป็นต้น  

  จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

                                                            ขอแสดงความนับถือ

                        รายชื่อองค์กรที่ร่วมกันยื่นร่างกฎหมายฯ

  1. มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF)
  2. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน(สนส.)
  3. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน(สสส.)
  4. เครือข่ายสิทธิมนุษยชนปาตานี(HAP)
  5. ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน(TLHR)
  6. มูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิม(MAC)
  7. กลุ่มด้วยใจ (Duayjai)
  8. เครือข่ายปฏิรูปตำรวจ (Police Watch)
  9. สถาบันเพื่อการปฎิรูปกระบวนการยุติธรรม(สปยธ.)
  10. เครือข่ายผู้ได้รับผลกระทบจากกฎหมายพิเศษ (JASAD)
  11. สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ
  12. มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ

รายชื่อบุคคล

  1. อนุชา  วินทะไชย
  2. อสมา  มังกรชัย
  3. พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ
  4. ประยงค์ ดอกลำไย
  5. ณัฏฐา มหัทธนา
  6. อรรคณัฐ  วันทนะสมบัติ
  7. ธีรวัฒน์  ขวัญใจ
  8. อรอนงค์ ทิพย์พิมล
  9. อารีวัณย์ สมบุญวัฒนกุล
  10. มูฮัมหมัดฟะฮ์มี ตาเละ
  11. บัณฑิต ไกรวิจิตร
  12. อิมรอน ซาเหาะ
  13. ศรันย์ สมันตรัฐ
  14. บารมี ชัยรัตน์ (สมัชชาคนจน)
  15. ยุกติ มุกดาวิจิตร (คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  16. ภาสกร อินทุมาร (คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  17. นาตยา อยู่คง (คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)
  18. ชลิตา บัณฑุวงศ์ (คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
  19. ทวีศักดิ์ ปิ
  20. พวงทอง ภวัครพันธุ์ (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ)
  21. อภิชาต สถิตนิรามัย (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
  22. บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล
  23. ผศ. พันธุ์พิพิธ  พิพิธพันธุ์
  24. ศุภรา จันทร์ชิดฟ้า
  25. ชลิตา บัณฑุวงศ์
  26. ดวงยิหวา  อุตรสินธุ์
  27. อรชา รักดี
  28. ณรรธราวุธ เมืองสุข
  29. อันธิฌา แสงชัย
  30. งามศุกร์ รัตนเสถียร 
  31. อัมพร หมาดเด็น
  32. พูนสุข  พูนสุขเจริญ
  33. สุรชัย ทรงงาม
  34. สุมิตรชัย  หัตถสาร
  35. ณัฐาศิริ เบิร์กแมน
  36. เลาฟั้ง  บัณฑิตเทอดสกุล
  37. คุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์
  38. สุภาภรณ์ มาลัยลอย
  39. มนทนา ดวงประภา
  40. ผรัณดา ปานแก้ว
  41. อัญชนา หีมมีนะห์
[:]

TAG

RELATED ARTICLES

Discover more from มูลนิธิผสานวัฒนธรรม

Subscribe now to keep reading and get access to the full archive.

Continue reading

Discover more from มูลนิธิผสานวัฒนธรรม

Subscribe now to keep reading and get access to the full archive.

Continue reading