คุยกับ พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ ผู้ผลักดัน พรบ. อุ้มหายฯ ถึงปัญหาความชอบธรรมที่รัฐพยายามเลื่อนการบังคับใช้ | ประชาไท
27 ก.พ. 2566 เวลา 19.30-20.00 น. ประชาไทชวนรับชมถ่ายทอดสดการสนทนากับ พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ ผอ.มูลนิธิผสานวัฒนธรรม ผู้ผลักดัน พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทำให้บุคคลสูญหาย เพื่อพูดคุยถึงปัญหาความชอบธรรมที่รัฐบาลพยายามเลื่อนการบังคับใช้ออกไป ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ก่อนที่สภาจะพิจารณาในวันพรุ่งนี้ (28 ก.พ. 2566)
ความรุนแรงโดยรัฐไทย: การทรมาน และการอุ้มหายโดยเจ้าหน้าที่รัฐ
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทั้งการทรมานคนบริสุทธิ์อย่างโหดเหี้ยม และการอุ้มประชาชนหายโดยเจ้าหน้าที่รัฐมาโดยตลอด แต่ว่าเมื่อไม่นานมานี้ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 เพิ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เสวนาเชิงปรึกษาหารือ การเลือกตั้งทั่วไปปี 2566 และสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จ.ชายแดนภาคใต้
พบกับงานเสวนาเชิงปรึกษาหารือ (Consultative Dialogue) การเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ. 2566 และสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ วันที่ 24 ก.พ 2566 เวลา 09.00-12.10 น. ณ Social Innovation Hub (ห้องโถง) สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เชิญร่วมงานเสวนาวิชาการ หัวข้อ “พรบ. ซ้อมทรมานและอุ้มหาย เดินหน้าหรือชะลอ ใครได้ ใครเสีย?”
ในวันจันทร์ที่ 23 มกราคม 2566 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้สนใจสามารถติดตามรับชมงานเสวนาดังกล่าวได้ผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook Live แฟนเพจสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
วีดีโอ
มูลนิธิผสานวัฒนธรรม เราคือนักพิทักษ์สิทธิมนุษยชน ที่แสวงหาความเป็นธรรม และศักดิ์ศรีให้กับทุกคนภายใต้กฎหมาย
เชิญรับฟังเสวนาออนไลน์ “กดขี่ ตีตรา จองจำ” สิทธิขั้นพื้นฐาน และเงื่อนไขการประกันตัวที่ไม่เป็นธรรม กรณีศึกษาเก็ท-ตะวัน
ศุกร์ 20 มกราคม 2566 เข้าเชิญร่วมรับฟังเสวนาออนไลน์ “กดขี่ ตีตรา จองจำ: สิทธิขั้นพื้นฐาน และเงื่อนไขการประกันตัวที่ไม่เป็นธรรม กรณีศึกษาเก็ท-ตะวัน”