“แจ้งเกิด” หมุดแรกของประชาชนไทย เรื่องโดย ขวัญเรียม จิตอารีย์
“การแจ้งเกิด” เป็นความสัมพันธ์แรกของบุคคลกับรัฐที่จะยังผลไปสู่ความสัมพันธ์อื่นในฐานะพลเมืองของรัฐ อันครอบคลุมทุกเรื่องในชีวิตตั้งแต่เกิดจนถึงวันหลับตาลาโลก หากการเกิดคือการปักหมุดชีวิตการแจ้งเกิดก็คือการปักหมุดตัวตนอันมีสิทธิแห่งตนในฐานะพลเมืองของรัฐด้วยเช่นกัน
กฎหมายชาติพันธุ์ กับการคุ้มครองวิถีชีวิตและสิทธิมนุษยชน เรื่องโดย วิวัฒน์ ตามี่
ในช่วงที่ผ่านมามีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองวิถีชีวิต และสิทธิกลุ่มชาติพันธุ์ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร พ.ศ. 2560 มาตรา 70 เพื่อเสนอให้รัฐสภาพิจารณาจำนวนสามฉบับ ฉบับแรกชื่อ ร่างพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ. … ยกร่างโดย สภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย
เสียงจากเยาวชนและสตรีบ้านบางกลอย… ในวันที่รัฐไม่ให้พวกเขากลับบ้าน เรื่องโดย อิชย์อาณิคม์ ชิตวิเศษ
ปฏิเสธไม่ได้ว่าใครก็ตาม ไม่ว่าจะยากดีมีจน ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ ไม่ว่าจะหญิง ชาย หรือคนหลากหลายทางเพศ ประโยคที่ว่า “ไม่มีที่ไหนไม่สุขใจ…เท่าบ้านเรา” ก็ยังถือเป็นอุดมคติที่มนุษย์ทุกคนคาดหวังว่า บ้านจะเป็นเสมือนพื้นที่ Save Zone ที่ไม่ว่าเราจะออกไปใช้ชีวิตทั้งวันให้กับการเรียน การทำงาน หรือแม้แต่เที่ยวเล่นเตร็ดเตร่ที่ไหนก็ตาม
เมื่อกฎหมายบ้านเมือง ทำร้ายกะเหรี่ยงบางกลอย เรื่องโดย พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ
งานด้านสิทธิมนุษยชนที่สำคัญประการหนึ่งคือ การบันทึกข้อเท็จจริงเรื่องราวการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อให้เห็นเป็นปรากฎการณ์ และสถานการณ์ที่ชัดเจน ถูกต้องแม่นยำที่สุด โดยเฉพาะข้อเท็จจริงจากปากคำของผู้เสียหายที่ต้องเป็นศูนย์กลางของเรื่องเล่า อันจะนำมาสู่การทำหน้าที่ของรัฐในการแก้ไขปัญหาและปกป้องคุ้มครองสิทธิของประชาชน
ราชภัฏมหาสารคาม เผยบทความวารสารสังคม “การบังคับให้สูญหายโดยรัฐกรณีของประเทศไทย ปี 2530-2560”
เป็นที่ทราบกันดีว่า การบังคับให้บุคคลสูญหาย ไม่เพียงแต่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงเท่านั้น แต่ยังถือเป็นอาชญากรรมร้ายแรงในหลายประเทศอีกด้วย โดยมติที่ประชุมระหว่างประเทศ และอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญ (CED) ภายใต้องค์กรสหประชาชาติ (UN)
พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่ควรรู้ และ การคุ้มครองเด็กผู้กระทำผิด โดย สรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์
ผมได้แก้ไขปรับปรุง Powerpoint Presentation เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองเด็กที่ควรรู้ และการคุ้มครองเด็กผู้กระทำผิดให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงขอส่งมาให้ท่านพิจารณาใช้เป็นเนื้อหาในการดำเนินการครับ สรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิเด็ก อดีตคณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งองค์การสหประชาชาติ