[:en]อาเยาะ คือนอ อีฆะ “พ่อถูกจับ” เส้นทางความยุติธรรมของ ผู้ต้องขัง คดีความมั่นคง ชายแดนใต้[:th]อาเยาะ คือนอ อีฆะ “พ่อถูกจับ” เส้นทางความยุติธรรมของ ผู้ต้องขัง คดีความมั่นคง...
[:th]มูลนิธิผสานวัฒนธรรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมหลักนิติธรรม และสิทธิมนุษยชนทั้งทางด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิทธิพล เมืองมูลนิธิได้ดำเนินโครงการเข้าถึงความยุติธรรม และการคุ้มครองทางกฎหมายใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ[:]
[:th]สมุดโน๊ตไดอารี่ มูลนิธิผสานวัฒนธรรม ประจำปี 2017 (CrCF Diary 2017)[:]
[:th]เป็นโอกาสอันสวยงามในวาระดิถีปีใหม่ ที่คณะกรรมการและทีมงานทั้งหมดของมูลนิธิผสานวัฒนธรรมจะได้ส่งความสุขและความปรารถนาดีมายังทุกท่าน ผ่านสมุดโน๊ตไดอารี่ ที่เราตั้งใจจัดทำขึ้น โดยรวบรวมความเห็นและข้อเสนอของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน Human Rights Defender (HRD) ในด้านต่างๆ อาทิคุณสุรพงษ์ กองจันทึก ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรม คุณสมชาย หอมลออ[:]
เครื่องมือภาคประชาสังคม เพื่อติดตามการทบทวนและใช้ประโยชน์จากกลไกสิทธิฯ UN
สิ่งพิมพ์ฉบับนี้จัดท่าขึ้นโดย ศูนย์สิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (Centre for Civil and Political Rights หรือ CCPR-Centre) ภายใต้กรอบโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจาก สถานทูตอังกฤษ กรุงเทพฯ (British Embassy Bangkok) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนความ พยายามของผู้มีผลประโยชน์ร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง ระเบียบคำสั่งและแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่
เนื่องจากมี “กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง ระเบียบคำสั่งและแนวปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่” มาอย่างต่อเนื่องนับแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เรื่อยมา โดยปัจจุบัน มีการบังคับใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗ และพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ในพื้นที่จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดปัตตานี ยกเว้นอำเภอแม่ลาน และมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติการ รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ ในพื้นที่อำเภอเทพา อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอจะนะ ของจังหวัดสงขลา
ความหลากหลายทางเพศ
อีบุ๊ก
หมวดหมู่ทั้งหมด
Close
Close
ชายแดนใต้
กฎอัยการศึก
กฎหมายความมั่นคง
หลักนิติธรรม
การเมืองไทย
สันติภาพ และความขัดแย้ง
อนุสัญญาต่อต้านทรมานฯ
ผู้หญิง และเด็ก
โควิด-19
การป้องกันการทรมาน
สิทธิแรงงานข้ามชาติ
บล็อก
วีดีโอ
eBooks
...
[:th]สรุปข้อสังเกตของคณะกรรมการต่อต้านการทรมานองค์การสหประชาชาติต่อประเทศไทย โดย สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน[:]
[:th]ตามที่ประเทศไทยลงนามและให้สัตยาบันในอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี เมื่อปี 2550 (CAT) เมื่อไทยเป็นรัฐภาคีแล้ว มีหน้าที่ต้องดำเนินมาตรการต่างๆ ทางนิติบัญญัติ ทางบริหาร ทางตุลาการ หรือมาตรการอื่นๆ ที่มีประสิทธิผลเพื่อป้องกันมิให้เกิดการกระทำการทรมานในอาณาเขตใดซึ่งอยู่ภายใต้เขตอำนาจรัฐของตน และยังกำหนดให้ประเทศไทยมีหน้าที่ส่งรายงานต่อคณะกรรมการต่อต้านการทรมาน[:]