For immediate release on 7 April 2015
Public Statement: Revoke the NCPO Order no. 3/2558 and stop invoking Section 44 of the Constitution of the Kingdom of Thailand (Interim), B.E. 2557 (2014)
The National Council for Peace and Order (NCPO) has issued Order no. 3/2558 concerning the maintenance of peace and national security, invoking Section 44 of the Constitution of the Kingdom of Thailand (Interim), B.E. 2557 (2014),[1] to replace Martial Law which was lifted on 1 April 2015.
The Human Rights Lawyers Association (HRLA) considers NCPO Order no. 3/2558, which grants the Head of the National Council for Peace and Order (NCPO) draconian power over the Legislative, Administrative and Judicial branches, including over any law made by these branches, to be in breach of the fundamental principles of democracy and human rights for the following reasons.
1. The power granted to the Head of the National Council for Peace and Order (NCPO) over the Legislative, Administrative and Judicial branches amounts to an absolute centralization of powers, which is incompatible with the rule of law. Checks and balances are normally provided to prevent arbitrary use of ruling power which may affect national security and the rights and freedoms of the people. In addition, the Order falls outside the jurisdiction of administrative justice and the Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure. It is, therefore, intended to place power beyond judicial review, leaving the people whose rights are violated unable to resort to judicial remedies and judicial review to hold the officials exercising the Order accountable.
2. The Order paves the way for military officials to act as a “competent official for maintaining peace and order,” invoking the Order to conduct a search, seizure, or compulsory requisition, to prohibit dissemination of news, or to perform duties similar to an inquiry official under the Criminal Procedure Code. The trial of civilians charged for violations of Articles 107 to 112, and 113 to 118 of the Penal Code, and for violations of the NCPO Announcements and Orders, continues to fall under the jurisdiction of the Military Court as per the NCPO Announcements no. 37/2557, 38/2557 and 50/2557. Trial by Military Court breaches the guarantee of fundamental rights and the right to a fair trial by an independent tribunal, as provided for by the Universal Declaration of Human Rights (UDHR) and the International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR). These breaches include the right of access to information, freedom of the press, freedom of expression, freedom of assembly and the rights of people to access justice. As a result, the Order has made the rights and freedom of people more vulnerable to violation. Thus such an Order could have an adverse impact on the present attempts to restore democratic processes in Thailand.
HRLA and the undersigned organizations and individuals, including lawyers and activists working on law and human rights, are gravely concerned that such exercise of arbitrary power without any checks and balances or accountability will threaten the exercise of rights and freedoms by people and contribute to an environment of impunity. We therefore urge the National Council for Peace and Order (NCPO) to revoke application of Section 44 of the Interim Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2557 (2014) and NCPO Order no.3/2558 in the present context.
With respect in human rights and human dignity
1. Human Rights Lawyers Association (HRLA)
2. Union for Civil Liberties (UCL)
3. Academic Network for Social and Southern Communities Organization
4. Mr.Somchai Homlaor, Lawyer
5. Mr. Pairoj Pholphet, Lawyer
6. Mr.Sangchai Ratanaseriwong, Attorney
7. Mr.Chairat Saeng-Arun, Attorney
8. Mr.Thaworn Piyawongrungruang, Attorney
9. Mr.Ratsada Manooratsada, Attorney
10. Mr.Surasich lueangarunnapha, Attorney
11. Mr.Sarawut Pratoomraj, Attorney
12. Mr.Surachai Trongngam, Attorney
13. Mr.Sumitchai Hatthasan, Attorney
14. Ms.Sor Rattamanee Polkla, Attorney
15. Mr.Somnuek Tumsuparb, Attorney
16. Mrs.Umporn Sungtong, Attorney
17. Ms.Yaowalak Anuphan, Attorney
18. Ms.Darunee Paisarnpanichsakul, Lawyer
19. Ms.Preeda Tongchumnum, Attorney
20. Ms.Napaporn Songprang, Attorney
21. Mr.Teerapun Punkiri, Attorney
22. Mr.Songkrant Pongboonjun, Lawyer
23. Ms.Junjira Junpaew, Attorney
24. Mr.Laofang Bundidterdsakul, Attorney
25. Mr.Panom Butakiew, Attorney
26. Ms.Koreeyor Manuchae, Attorney
27. Ms.Pradittha Pariyakaewfah, Lawyer
28. Ms.Atchara Suttisuntarin, Lawyer
29. Ms.Puttinun Kopunta, Lawyer
30. Ms.Paranda Pankaew, Lawyer
31. Mr.Sonthaya Kodpunya, Lawyer
32. Mr.Apirach Khansen, Lawyer
33. Ms.Rosnanee Hayeesamare, Lawyer
34. Ms.Waleerat Chuwa, Lawyer
35. Ms.Khumklao Songsomboon, Attorney
36. Ms.Montana Duangprapa, Attorney
37. Ms.Waraporn Utairungsee, Attorney
38. Ms.Anyanee Chaichompoo, Lawyer
39. Ms.Pawinee Chumsri, Attorney
40. Mr.Thornthan Kanmangmee, Lawyer
41. Mr.Abdulloh Hayee-abu, Attorney
42. Mr.Kritsada Khunnarong, Attorney
43. Ms.Poonsuk Poonsukjarern, Attorney
44. Ms.Supunsa Marhem, Attorney
45. Mr.Danaikrit Sreekarn, Lawyer
46. Ms.Chunsa Supunmuang, Lawyer
47. Ms.Atcha SongJarern, Lawyer
48. Ms.Umarporn Sungkalekha, Lawyer
49. Mr.Amarin Saichan, Lawyer
50. Ms.Somsakul Sreemeteekul, Attorney
51. Mr.Weerawat Oboh, Attorney
52. Ms.Angkana Anujorn, Attorney
53. Mr.Narakorn Namuangrak, Lawyer
54. Ms.Waraporn Intanon, Lawyer
55. Ms.Juntima Trilerd, Lawyer
56. Mr.Montree Achariyasakulchai, Lawyer
57. Ms.Muda Nawanard, Lawyer
58. Ms.Jingjung Nasare, Lawyer
59. Ms.Thitiworada Thammapiriyakul, Lawyer
60. Mr.Israpong Wiengwong, Lawyer
61. Ms.Phattranit Yaodam, Attorney
62. Ms.Waewtar Sarles, Lawyer
63. Mr.Jessada Jangjun, Attorney
64. Ms.Achichaya Oodwong, Lawyer
65. Ms.Karnjana Akkrachard, Lawyer
66. Mr.Kritsada Cheechuang, Attorney
67. Mr.Bundit Hormket, Lawyer
68. Ms.Chalermsri Prasertsri, Lawyer
69. Mr.Sutthikiet Kochaso, Lawyer
70. Ms.Sasinun Thammanitinun, Attorney
71. Mr.Sutthikiew Thammadul, Attorney
72. Ms.Mananya Poonsiri, Lawyer
73. Ms.Utumporn Duangkaew, Lawyer
74. Ms.Watcharasak Vijitnun, Lawyer
75. Mr.Jatupat Bunpatraksar, Lawyer
76. Ms.Kwanhatai Patumthawornsakul, Lawyer
77. Ms.Maseetoh Munloh, Lawyer
78. Ms.Siwaporn Fordsoongnern, Lawyer
79. Mr.Kittichai Jongkraijak, Lawyer
80. Mr.Apisarn Yarnuch, Attorney
81. Mrs.Natthasiri Berkman, Attorney
82. Mr.Suriyong Kongkrapun, Attorney
83. Mr.Thitirat Soisuwun, Lawyer
84. Ms.Nuengruetai Kochasarn, Lawyer
85. Ms.Suthatip Omparn, Lawyer
86. Ms.Natwadee Tengpanichsakul, Lawyer
87. Mr.Sakeemun Benjadeja, Attorney
88. Mr.Papob Siemharn, Lawyer
89. Ms.Preeyaporn Kunkumnerd, Lawyer
90. Ms.Butsara Singhabut, Lawyer
91. Mr.Wannawat Summaniti, Lawyer
92. Mr.Anucha Wintachai, Human Rights Activist
93. Ms.Hataikarn Renumard
94. Ms.Siripaporn Chuensri
95. Ms.Supaporn Malailoy
96. Mrs.Pairat Chantong
97. Ms.Sirilak Sriprasit
98. Ms.Yollada Thanakornsakul
99. Mr.Panom Tano
100. Mrs.Sukarntar Sukpaitar
101. Mrs.Chanidapar Prakaipech
102. Mr.Wasin Paitarfong, Attorney
103. Mr.Pijit Sukayuwana, Attorney
104. Mr.Wisut Chantadansuwun, Lawyer
105. Mr.Wanus Khosasu, Lawyer
106. Mr.Nontawut Rachakawee, Lawyer
107. Mr.Prompong Wongras, Lawyer
108. Ms.Nawasorn Limsakul, Lawyer
109. Mr.Witsarut Kitdee, Lawyer
110. Ms.Amornrat Klungkumnerd, Lawyer
111. Mr.Udhar Lohmoh, Volunteer
112. Mr. Mahamasulainee Tohmalor, Volunteer
113. Ms.Nopparak Yungeiam, Lawyer
114. Ms.Nijnirun Awapark, Lawyer
115. Ms.Sirikan Jarernsri, Lawyer
116. Mr.Sittiporn Parkpirom, Attorney
117.Mr.Preeda Nakpiw, Attorney
118. Mr.Natser Ardwarin, Attorney
119. Mr.Warut Boontharik, Attorney
120. Ms.Jirarat Mulsiri, Attorney
121. Ms.Luenhorm Saifah, Lawyer
122. Mr.Wuttichai Parkduangjai, Lawyer
123. Mr.Jirawat Suriyashotichyangkul, Lawyer
124. Mr.Kittisak Tiengtrong, Attorney
125. Acting Sub Lt.Chawanun Kanokvijitsin, Attorney
126. Mr.Arnon Sriboonjun, Law Academician
127. Mr. Jesada Thongkaow, Law Academician
128. Ms.Saovanee Kaewjullakarn, Law Academician
129. Mr. Tossapon Tassanakunlapan, Law Academician
130. Mr.Khanpech Chaitaweep, Law Academician
131. Associate Professeur Doctor Nattapong Jitnirat, Academician
132. Mr,Chalit Meesit, Attorney
For more information, please contact:
Human Rights Lawyers Association :Tel: +66-2-6934939, +66-2-6934831
NCPO Order no. 3/2558 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/073/1.PDF
[1]Section 44 of the Constitution of the Kingdom of Thailand (Interim), B.E. 2557 (2014) states that “In the case where the Head of the National Council for Peace and Order is of opinion that it is necessary for the benefit of reform in any field and to strengthen public unity and harmony, or for the prevention, disruption or suppression of any act which undermines public peace and order or national security, the Monarchy, national economics or administration of State affairs, whether that act emerges inside or outside the Kingdom, the Head of the National Council for Peace and Order shall have the powers to make any order to disrupt or suppress regardless of the legislative, executive or judicial force of that order. In this case, that order, act or any performance in accordance with that order is deemed to be legal, constitutional and conclusive, and it shall be reported to the National Legislative Assembly and the Prime Minister without delay.”
แถลงการณ์ขอให้ยกเลิกคำสั่งที่ 3/2558 ของ คสช. ยุติการการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) ฯ มาตรา 44
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคำสั่งที่ 3/2558 เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44แทนการใช้กฎอัยการศึก ที่ยกเลิกไปเมื่อวันที่ 1เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมานั้น
สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเห็นว่า การประกาศใช้คำสั่งที่ 3/2558 ดังกล่าว ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอำนาจเหนืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการรวมถึงคำสั่งใดๆที่เกี่ยวเนื่องกับบทบัญญัติข้างต้น ขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยและขัดต่อหลักการพื้นฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
1. การให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจเหนือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ เป็นการรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ขัดต่อหลักนิติรัฐ ที่แบ่งแยกอำนาจเพื่อถ่วงดุล ป้องกันการใช้อำนาจปกครองตามอำเภอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชน อีกทั้งการกำหนดให้การกระทำตามคำสั่งฉบับนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ย่อมเป็นการใช้อำนาจโดยความประสงค์หลีกเลี่ยงการตรวจสอบของสถาบันตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งดังกล่าว
2. การออกคำสั่งฉบับดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการใช้อำนาจของทหารในฐานะ “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย”กระทำการใดๆตามคำสั่งฉบับดังกล่าว เช่น ออกคำสั่งเรียก บุคคล จับกุม ค้น ห้ามการเสนอข่าว ฯ รวมถึงการทำหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน โดยการพิจารณาคดีของพลเรือนในข้อกล่าวหาตั้งแต่มาตรา 107 ถึง 112 และมาตรา 113 ถึง 118 ประมวลกฎหมายอาญา และความผิดตามประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังคงถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลทหาร ตาม ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557ฉบับที่ 38/2557และฉบับที่ 50/2557 ซึ่งขัดต่อหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานและสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมโดยตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งได้รับรองไว้ตามปฏิญญาสากลแห่งสหประชาชาติ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในหลายๆด้านเช่น สิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพของสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดมากยิ่งขึ้นและส่งผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
ดังนั้น สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน องค์กร และบุคคลดังมีรายชื่อท้ายแถลงการณ์ฉบับนี้ ในฐานะที่เป็นนักกฎหมาย ทนายความ และบุคลากรที่ทำงานด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีความห่วงกังวลอย่างยิ่งต่อการใช้อำนาจที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดและละเลยต่อหลักกฎหมายโดยสิ้นเชิง จึงขอให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยกเลิกคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 3/2558 และยุติการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)ฯ มาตรา 44 ในการบริหารประเทศเพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยอำเภอใจจากอำนาจที่ไร้การถ่วงดุลและอยู่เหนือการตรวจสอบ
ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)
2. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)
3. เครือข่ายนักวิชาการเพื่อสังคมและองค์กรชุมชนภาคใต้
4. นายสมชาย หอมลออ นักกฎหมาย
5. นายไพโรจน์ พลเพชร นักกฎหมาย
6. นายแสงชัย รัตนเสรีวงษ์ ทนายความ
7. นายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความ
8. นายถาวร ปิยะวงศ์รุ่งเรือง ทนายความ
9. นายรัษฎา มนูรัษฎา ทนายความ
10. นายสุรศิษฏ์ เหลืองอรัญนภา ทนายความ
11. นายศราวุฒิ ประทุมราช นักกฎหมาย
12. นายสุรชัย ตรงงาม ทนายความ
13. นายสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความ
14. นางสาว ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ
15. นายสมนึก ตุ้มสุภาพ ทนายความ
16. นางอำพร สังข์ทอง ทนายความ
17. นางสาวเยาวลักษ์ อนุพันธุ์ ทนายความ
18. นางสาวดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล นักกฎหมาย
19. นางสาวปรีดา ทองชุมนุม ทนายความ
20. นางสาวนภาพร สงปรางค์ ทนายความ
21. นายธีรพันธุ์ พันธุ์คีรี ทนายความ
22. นายสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ นักกฎหมาย
23. นางสาวจันทร์จิรา จันทร์แผ้ว ทนายความ
24. นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ทนายความ
25. นายพนม บุตะเขียว ทนายความ
26. นางสาวคอรีเยาะ มานุแช ทนายความ
27. นางสาวประดิษฐา ปริยแก้วฟ้า นักกฎหมาย
28. นางสาวอัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ นักกฎหมาย
29. นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา นักกฎหมาย
30. นางสาวผรัณดา ปานแก้ว ทนายความ
31. นายสนธยา โคตปัญญา นักกฎหมาย
32. นายอภิราชย์ ขันธ์เสน นักกฎหมาย
33. นางสาวโรสนานี หะยีสะแม นักกฎหมาย
34. นางสาววลีรัตน์ ชูวา นักกฎหมาย
35. นางสาวคุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความ
36. นางสาวมนทนา ดวงประภา ทนายความ
37. นางสาววราภรณ์ อุทัยรังษี ทนายความ
38. นางสาวอัญญาณี ไชยชมภู นักกฎหมาย
39. นางสาวภาวิณี ชุมศรี ทนายความ
40. นายธรธรร การมั่งมี นักกฎหมาย
41. นายอับดุลเลาะห์ หะยีอาบู ทนายความ
42. นายกฤษดา ขุนณรงค์ ทนายความ
43. นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความ
44. นางสาวสุพรรษา มะเหร็ม ทนายความ
45. นายดนัยกฤต ศรีคาน นักกฎหมาย
46. นางสาวชันษา สุพรรณเมือง นักกฎหมาย
47. นางสาวอัชฌา สงฆ์เจริญ นักกฎหมาย
48. นางสาวอุมาพร สังขะเลขา นักกฎหมาย
49. นายอัมรินทร์ สายจันทร์ นักกฎหมาย
50. นางสาวสมสกุล ศรีเมธีกุล ทนายความ
51. นายวีรวัฒน์ อบโอ ทนายความ
52. นางสาวอังคณา อนุจร ทนายความ
53. นายนรากร นาเมืองรักษ์ นักกฎหมาย
54. นางสาววราภรณ์ อินทนนท์ นักกฎหมาย
55. นางสาวจันทิมา ตรีเลิศ นักกฎหมาย
56. นายมนตรี อัจฉริยสกุลชัย นักกฎหมาย
57. นางสาวมึดา นาวานาถ นักกฎหมาย
58. นางสาวจริงจัง นะแส นักกฎหมาย
59. นางสาวฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล นักกฎหมาย
60. นายอิสระพงศ์ เวียงวงษ์ นักกฎหมาย
61. นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาดำ ทนายความ
62. นางสาวแววตา สาเลศ นักกฎหมาย
63. นายเจษฎา จางจันทร์ ทนายความ
64. นางสาวอชิชญา อ๊อตวงษ์ นักกฎหมาย
65. นางสาวกาญจนา อัครชาติ นักกฎหมาย
66. นายกฤษดา ชีช่วง ทนายความ
67. นายบัณฑิต หอมเกษ นักกฎหมาย
68. นางสาวเฉลิมศรี ประเสริฐศรี นักกฎหมาย
69. นายสุทธิเกียรติ คชโส นักกฎหมาย
70. นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ ทนายความ
71. นายสุทธิเกียรติ ธรรมดุล ทนายความ
72. นางสาวมนัญญา พูลศิริ นักกฎหมาย
73. นางสาวอุทุมพร ดวงแก้ว นักกฎหมาย
74. นายวัชระศักดิ์ วิจิตรจันทร์ นักกฎหมาย
75. นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักกฎหมาย
76. นางสาวขวัญหทัย ปทุมถาวรสกุล นักกฎหมาย
77. นางสาวมาซีเต๊าะ หมันหล๊ะ นักกฎหมาย
78. นางสาวศิวาพร ฝอดสูงเนิน นักกฎหมาย
79. นายกิตติชัย จงไกรจักร นักกฎหมาย
80. นายอภิสาร ยานุช ทนายความ
81. นางณัฐาศิริ เบิร์กแมน ทนายความ
82. นายสุริยงค์ คงกระพันธ์ ทนายความ
83. นายฐิติรัช สร้อยสุวรรณ นักกฎหมาย
84. นางสาวหนึ่งฤทัย คชสาร นักกฎหมาย
85. นางสาวสุธาทิพย์ อมปาน นักกฎหมาย
86. นางสาวณัฐวดี เต็งพานิชกุล นักกฎหมาย
87. นายสากีมัน เบญจเดชา ทนายความ
88. นายปภพ เสียมหาญ นักกฎหมาย
89. นางสาวปรียาภรณ์ ขันกำเหนิด นักกฎหมาย
90. นางสาวบุศรา สิงหบุตร นักกฎหมาย
91. นายวนวัฒก์ สัมมานิธิ นักกฎหมาย
92. นายอนุชา วินทะไชย นักสิทธิมนุษยชน
93. นางสาวหทัยกานต์ เรณูมาศ
94. นางสาวสิริภาภรณ์ ชื่นศรี
95. นางสาวสุภาภรณ์ มาลัยลอย
96. นางไพรัตน์ จันทร์ทอง
97. นางสาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์
98. นางสาวยลดา ธนกรสกุล
99. นายพนม ทะโน
100. นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา
101. นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร
102. นายวศิน ไป่ทาฟอง ทนายความ
103. นายพิจิตร์ สุขะยุวนะ ทนายความ
104. นายวิสุทธิ์ ฉันทแดนสุวรรณ นักกฎหมาย
105. นายวณัฐ โคสาสุ นักกฎหมาย
106. นายนนทวุฒิ ราชกาวี นักกฎหมาย
107. นายพร้อมพงษ์ วงศ์ราษฎร์ นักกฎหมาย
108. นางสาวนวศร ลิ่มสกุล นักกฎหมาย
109. นายวิศรุต คิดดี นักกฎหมาย
110. นางสาวอมรรัตน์ คลังกำเหนิด นักกฎหมาย
111. นายอัดฮา โล๊ะมะ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ
112. นายมาหะมะซูไลนี เต๊ะมาลอ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ
113. นางสาวนพรักษ์ ยังเอี่ยม นักกฎหมาย
114. นางสาวนิจนิรันดร์ อวะภาค นักกฎหมาย
115. นางสาวศิริกาญจน์ เจริญศิริ นักกฎหมาย
116. นายสิทธิพร ภาศภิรมย์ ทนายความ
117. นายปรีดา นาคผิว ทนายความ
118. นายนัสเซอร์ อาจวาริน ทนายความ
119. นายวรุตม์ บุณฑริก ทนายความ
120. นางสาวจิรารัตน์ มูลศิริ ทนายความ
121. นางสาวลืนหอม สายฟ้า นักกฎหมาย
122. นายวุฒิชัย พากดวงใจ นักกฎหมาย
123. นายจิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักกฎหมาย
124. นายกิตติศักดิ์ เที่ยงตรง ทนายความ
125. ว่าที่ ร.ต. ชวนันท์ กนกวิจิตรศิลป์ ทนายความ
126. นายอานนท์ ศรีบุญโรจน์ นักวิชาการทางด้านนักกฎหมาย
127. นายเจษฎา ทองขาว นักวิชาการทางด้านกฎหมาย
128. นางสาวเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย
129. นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย
130. นายขรรค์เพชร ชายทวีป นักวิชาการทางด้านกฎหมาย
131. รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์ นักวิชาการ
132. นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ทนายความ
ข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ
สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน 02-6930682
คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2558 เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/073/1.PDF
—
สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)
โทรศัพท์ /แฟ๊กซ์ : 02-6930682
อีเมล์ : hrla2008@gmail.com
http://www.naksit.org
………………………………………………..
Human rights Lawyers Association (HRLA)
email : hrla2008@gmail.com tel/fax : 02-6930682
http://www.naksit.org